วันพุธที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2558

เฉลยแบบฝึกหัดไอโซเมอริซึม

1. สารประกอบอินทรีย์ในข้อใดต่อไปนี้เป็นไอโซเมอร์กัน ถ้าไม่ได้เป็นไอโซเมอร์กันให้ระบุด้วยว่าเป็นสารชนิดเดียวกันหรือไม่

ก.
(CH3CH2)2CHCH3
กับ
CH3CH2C(CH3)3

เป็นไอโซเมอร์กันและเป็นสารต่างชนิดกัน






ข.

กับ

เป็นไอโซเมอร์กันและเป็นสารต่างชนิดกัน





ค.
CH3COOCH3

กับ


ไม่เป็นไอโซเมอร์กันเป็นสารต่างชนิดกัน






ง.
CH3OCH3
กับ
CH3CH2OH

เป็นไอโซเมอร์กันและเป็นสารต่างชนิดกัน






จ.
CH3(CH2)3CHO
กับ
(CH3CH2)2CO

เป็นไอโซเมอร์กันและเป็นสารต่างชนิดกัน






ฉ.
CH2=CHCH(CH3)2
กับ
(CH3)2 CHCH=CH2

ไม่เป็นไอโซเมอร์กันเป็นสารชนิดเดียวกัน






ช.
(CH3)3N
กับ
CH3NH CH2CH3

เป็นไอโซเมอร์กันและเป็นสารต่างชนิดกัน






ซ.
(CH3)2CCl2
กับ
(CH3)2CHCH2 Cl

ไม่เป็นไอโซเมอร์กันเป็นสารต่างชนิดกัน






ฌ.

กับ

เป็นไอโซเมอร์กันและเป็นสารต่างชนิดกัน





ญ.

 กับ

ไม่เป็นไอโซเมอร์กันเป็นสารชนิดเดียวกัน

แบบฝึกหัดไอโซเมอริซึม

1. สารประกอบอินทรีย์ในข้อใดต่อไปนี้เป็นไอโซเมอร์กัน ถ้าไม่ได้เป็นไอโซเมอร์กันให้ระบุด้วยว่าเป็นสารชนิดเดียวกันหรือไม่

ก.
(CH3CH2)2CHCH3
กับ
CH3CH2C(CH3)3

                                     






ข.

กับ

                                    





ค.
CH3COOCH3

กับ

                                     





ง.
CH3OCH3
กับ
CH3CH2OH

                                     






จ.
CH3(CH2)3CHO
กับ
(CH3CH2)2CO

                                     






ฉ.
CH2=CHCH(CH3)2
กับ
(CH3)2 CHCH=CH2

                                     





ช.
(CH3)3N
กับ
CH3NH CH2CH3

                                     





ซ.
(CH3)2CCl2
กับ
(CH3)2CHCH2 Cl

                                     





ฌ.

กับ

                                     





ญ.

 กับ

                                     

สารประกอบไฮโดรคาร์บอนและข้อสอบ


สารประกอบอินทรีย์ที่มีเฉพาะธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบมีชื่อเรียกว่า สารประกอบไฮโดรคาร์บอน (hydrocarbon compound)เช่นในธรรมชาติพบสารประกอบไฮโดรคาร์บอนเกิดอยู่ในแหล่งต่างๆ เช่น ยางไม้ ถ่านหิน ปิโตรเลียม นอกจากนี้ยังพบว่ามีสารประกอบไฮโดรคาร์บอนจำนวนมากที่ได้จากการสังเคราะห์แหล่งกำเนิดของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่สำคัญที่สุด คือ ปิโตรเลียม นักเรียนจะได้ศึกษาสมบัติบางประการของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนเพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาเกี่ยวกับสารประกอบอินทรีย์ชนิดต่างๆ ต่อไป


ข้อสอบ

1. ในธรรมชาติพบสารประกอบไฮโดรคาร์บอนเกิดในแหล่งใด
ถ่านหิน                                                      น้ำ
ภูเขาไฟ                                                      แร่ธาตุ
2. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนเป็นแรงชนิดใด
แรงดึงผิว                                                    แรงแวนเดอร์วาลส์
แรงโน้มถ่วง                                                แรงดึงดูดระหว่างมวล
3. เพนเทน  (C5H12 )   มีความหนาแน่นเท่าไร   
. 0.523   g / cm3                                            . 0.524     g / cm3   
. 0.625   g / cm3                                            . 0.626    g / cm3   
4. ของเหลวได้แก่สารประกอบไฮโดรคาร์บอนแบบใด
.    C4  - C16                                                    ข. C- C17                                                
.  C5  - C17                                                      ง.  C- C18                                                 
5. สารประกอบไฮโดรคาร์บอนละลายได้ดีในตัวทำละลายที่เป็นโมเลกุลโคเวเลนต์ไม่มีขั้วมีอะไรบ้าง
เบนซีน   คาร์บอนเตตระคลอไรด์                เบนซีน    เอไมด์
คาร์บอนเตตระคลอไรด์     ก๊าซ                   .   คาร์บอนเตตระคลอไรด์   ของเหลว


อ้างอิง 
http://www.vcharkarn.com/lesson/1457
https://sites.google.com/site/putsadanoodeesci/bth-thi-2-sarprakxb-hidorkharbxn/baeb-thdsxb

ไอโซเมอริซึม (Isomerism)

Isomer

สารต่างชนิดกัน สมบัติต่างกันแต่มีสูตรโมเลกุลเหมือนกัน


 1. ไอโซเมอร์โครงสร้างแบบเส้น (Structural isomer) : มีสูตรโมเลกุลเหมือนกันแต่มีสูตรโครงสร้างการจัดเรียนที่แตกต่างกัน

 C4H10  (บิวเทน)

        CH3–CH2– CH2– CH3            
             n-butane                                         Isobutane
จุดหลอมเหลว  -138.3 oC      จุดหลอมเหลว  -159.4 oC
    จุดเดือด             -0.5 oC      จุดเดือด           -11.7 oC
Position Isomerism
เป็นไอโซเมอร์ที่มีตำแหน่งของพันธะคู่ หรือพันธะสาม ในโครงสร้างแตกต่างกัน
C4H8  (บิวทีน)
        CH2=CH–CH2–CH3               CH3–CH=CH–CH3
             1-butene                         2-butene
          จุดเดือด  -6 oC                    จุดเดือด  1 oC
Functional Isomerism        
เป็นไอโซเมอร์ที่มีหมู่ฟังก์ชันในโครงสร้างแตกต่างกัน
C2H6O
        CH3–CH2– O–H                      CH3–O–CH3
             ethanol                       dimethyl ether
  (Alcohol, hydroxyl group)     (Ether, alkoxy group)
         จุดเดือด  78 oC                   จุดเดือด  -25 oC           


2. ไอโซเมอร์เรขาคณิต (Stereo Isomer) : คือไอโซเมอร์ซึ่งมีสูตรโมเลกุล และมีสูตรโครงสร้างเหมือนกัน แต่มีการจัดอะตอมหรือกลุ่มอะตอมในที่ว่างภายในโมเลกุลต่างกัน